ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานเชิงประจักษ์
ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานเชิงประจักษ์ (strength of evidence) เป็นเรื่องสำคัญที่จะช่วยประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐาน
โดยใช้ตามเกณฑ์ของเมลินย์และไฟเอาท์- โอเวอร์ฮอลท์ (Melnyk & Fineout-Overholt,2005) แบ่งเป็น 7 ระดับ
1. ระดับ 1 หลักฐานจากการทบทวนงานวิจัยย่างเป็นระบบ (Systematic Review) การวิเคราะห์เมต้า จากงานวิจัยเชิงทดลองที่มีการสุ่มและมีกลุ่มควบคุมทั้งหมด (Randomized controlled trial,RCT)
2. ระดับ 2 หลักฐานจากงานวิจัยเชิงทดลองที่มีการสุ่มและมีกลุ่มควบคุมที่มีการออกแบบวิจัยอย่างดี อย่างน้อย 1 เรื่อง (Randomized controlled trial,RCT)
3. ระดับ 3 หลักฐานที่ได้จากงานวิจัยเชิงทดลองที่มีกลุ่มควบคุม มีการออกแบบวิจัยอย่างดี แต่ไม่มีการสุ่ม (controlled trial, without randomized)
4. ระดับ 4 หลักฐานที่ได้จากงานวิจัยที่เป็นการศึกษาย้อนหลัง หรือการติดตามไปข้างหน้า ที่มีการออกแบบวิจัยอย่างดี (case controlled and cohort studies)
5. ระดับ 5 หลักฐานที่ได้จากการทบทวนวรรรกรรมอย่างเป็นระบบของงานวิจัยเชิงบรรยายหรืองานวิจัยเชิงคุณภาพ (descriptive and qualitative study)
6. ระดับ 6 หลักฐานที่ได้จากงานวิจัยเดี่ยวที่เป็นงานวิจัยเชิงบรรยายหรืองานวิจัยเชิงคุณภาพ
7. ระดับ 7 หลักฐานที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญในกลุ่มวิชาชีพเฉพาะ และ/หรือ รายงานจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะเรื่อง ซึ่งจัดเป็นลำดับสุดท้าย ในกรณีที่ไม่มีงานวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในหัวข้อนั้นๆ
Saturday, October 15, 2011
Thursday, October 13, 2011
root android ง่ายๆ
แล้วทำไมในส่วนของผู้ใช้ต้องมา root android หละ ในเมื่อไม่ได้อยากจะ modify system หรือ
dev program ขึ้นมาทดสอบ? นั่นเพราะมันมีเหตุผลตามนี้ครับ
- android ยังไม่รวมภาษาไทยเข้าไปในระบบ
- full market ของ android ยังไม่เปิดบริการในบ้านเรา
- kernel ของ android ยังไม่เปิดเต็มที่ เลยไม่สามารถเข้าถึงบางส่วนของระบบได้
- custom ROM!
จากหัวข้อด้านบน เรามาลองวิเคราะห์ไปด้วยกันทีละข้อ ว่าเราจำเป็นต้อง root เครื่องมั้ย
dev program ขึ้นมาทดสอบ? นั่นเพราะมันมีเหตุผลตามนี้ครับ
- android ยังไม่รวมภาษาไทยเข้าไปในระบบ
- full market ของ android ยังไม่เปิดบริการในบ้านเรา
- kernel ของ android ยังไม่เปิดเต็มที่ เลยไม่สามารถเข้าถึงบางส่วนของระบบได้
- custom ROM!
จากหัวข้อด้านบน เรามาลองวิเคราะห์ไปด้วยกันทีละข้อ ว่าเราจำเป็นต้อง root เครื่องมั้ย
1. root เพื่อลงภาษาไทย
ไม่จำเป็นแล้ว เพราะตอนนี้ android มีภาษาไทยมาให้เรียบร้อยตั้งแต่ froyo 2.2
ไม่จำเป็นแล้ว เพราะตอนนี้ android มีภาษาไทยมาให้เรียบร้อยตั้งแต่ froyo 2.2
2. root เพื่อใช้งาน full market
ไม่จำเป็นอีกเช่นกัน เพราะตอนนี้บ้านเราสามารถซื้อ app ได้แล้วจ้า
ไม่จำเป็นอีกเช่นกัน เพราะตอนนี้บ้านเราสามารถซื้อ app ได้แล้วจ้า
3. root เพื่อเพิ่มรูปแบบการใช้งาน
การจับภาพหน้าจอในบางรุ่นยังต้องใช้สิทธิ์ root อยู่ครับ เว้นแต่ Samsung และ LG จ๊ะ
การจับภาพหน้าจอในบางรุ่นยังต้องใช้สิทธิ์ root อยู่ครับ เว้นแต่ Samsung และ LG จ๊ะ
4. root เพื่อลง custom ROM
อย่านะครับ อย่าพึ่งคิดว่า root แล้วอยากจะลง ROM อะไรก็ได้ เพราะว่ามันไม่ง่ายแบบนั้นครับ
เพราะมันต้องการ custom recovery ด้วยครับ ถ้าไม่มี custom recovery ก็ไม่สามารถลง ROM ได้
อย่านะครับ อย่าพึ่งคิดว่า root แล้วอยากจะลง ROM อะไรก็ได้ เพราะว่ามันไม่ง่ายแบบนั้นครับ
เพราะมันต้องการ custom recovery ด้วยครับ ถ้าไม่มี custom recovery ก็ไม่สามารถลง ROM ได้
คราวนี้ก็อยากให้ท่านๆมาลองพิจารณาดูว่า จำเป็นมั้ยที่ตัวท่านจะต้อง root เครื่องของท่านเอง
และเหตุผลที่ท่านต้องการ root คืออะไร ? ท่านยอมเสี่ยงกับการหมดประกันหรือเปล่า หรือการแปลง
เครื่องของท่านกลายเป็นอิฐมอญ (bricked)
และเหตุผลที่ท่านต้องการ root คืออะไร ? ท่านยอมเสี่ยงกับการหมดประกันหรือเปล่า หรือการแปลง
เครื่องของท่านกลายเป็นอิฐมอญ (bricked)
อีกบทความนึง
การ Root มือถือที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Android คือการเพิ่มความสามารถให้โทรศัพท์ โดยที่เราจะสามารถทำการแก้ไข หรือใช้งานแอพพลิเคชั่นอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ เพราะโดยปกติแล้วมือถือของศูนย์จะล๊อคเอาไว้ ถ้าเทียบกับ iphone มันก็คือการ Jail Break นั่นเอง
การ Root Android นั้นมีหลายวิธีมากแต่ผมขอเลือกวิธีที่เค้าเรียกกันว่า Odin เพราะเห็นว่าง่ายที่สุดแล้วสำหรับมือใหม่
- ก่อนจะเริ่มการ Root อย่าลืม Backup ข้อมูลไว้ก่อนนะครับกันเหนียว
- เครื่องคุณอาจจะหมดประกันได้ หากมีปัญหา แล้วส่งเข้าศูนย์ (but who’s care)
- เครื่องทีทำการ Root เป็น Samsung Galaxy S i9000 Firmware Android 2.3 Gingerbread
1. ตั้งค่าให้ USB Mode อยู่ในโหมด Debugging ก่อนครับ โดยเข้าไปที่ Setting + Application + Development แล้วให้ติ๊กถูกเอาไว้ที่ USB Debugging
2. โหลดเสร็จแล้วแตกไฟล์ออกมา จะมีสองไฟล์ตามรูป
3. บูตโทรศัพท์เข้าสู่โหมด Downloading โดยการปิดเครื่องก่อน เสร็จแล้วกดปุ่ม Volume Down + Home + Power
4. เปิดโปรแกรม Odin
5. ตรงปุ่ม PDA ให้เลือกไฟล์ในโฟลเดอร์ที่เราแตกออกมา
6. กดปุ่ม Start ไม่ถึงนาที เครื่องจะรีบูตเอง แค่นี้ก็เรียบร้อยแล้ว
7. เช็คความเรียบร้อยอีกที เข้าหน้า Application ควรจะมี 3 programs นี้เพิ่มขึ้นมาครับ
วิธีการรูธนั้นก็แสนจะง่ายนิดเดียว เพียงดาวน์โหลดโปรแกรม Universal Androot มาติดตั้งไว้ในเครื่อง หลังจากนั้นเข้าโปรแกรม เลือกเวอร์ชั่นของโปรแกรม Superuser ที่ต้องการให้เหมาะกับเวอร์ชั่นแอนดรอยด์ที่ใช้อยู่ แล้วกด Root :) เพียงเท่านี้เครื่องของคุณก็ผ่านการ root เรียบร้อยแล้ว
จากนี้ไปท่านก็สามารถใช้โปรแกรมที่ต้องการสิทธิ์ root ได้แล้วอาทิเช่น Market Enable, Backup for root, ShootMe หรือ Terminal Emulator เป็นต้น โดยจะต้องทำการให้สิทธิ์โปรแกรมเหล่านี้ผ่านโปรแกรม Superuser ก่อน
Subscribe to:
Posts (Atom)